วันอาทิตย์ที่ 12 กันยายน พ.ศ. 2553

เคมี อ.สราญรมย์

เซลล์อิเล็กโทรไลต์


1.ปฏิกิริยาการจ่ายไฟของเซลล์สะสมไฟฟ้าแบบตะกั่วเป็นดังนี้


ขั้ว A : PbO2(S)+SO42-(aq)+4H+(aq)+2e —> PbSO4(S)+2H2O(I)


ขั้ว B : Pb(S)+SO42-(aq) —> PbSO4(S)+2e-


เมื่อเซลล์นี้ถูกใช้งานไประยะหนึ่งแล้วนำไปอัดไฟจะเกิดอะไรขึ้น


1. กรด H2 เกิดกลับมาอย่างเดิม                                  2. ขั้ว A เกิด reduction ขั้ว B เกิด oxidation


3. PbSO จะเกิดอะไรขึ้นทั้งที่แอโนดและแคโทด         4. PbO ละลายออกมาในสารละลายกรด


เฉลย ข้อ 1






2. ในการแยกสารโดยวิธีการโคมาโตกราฟีกระดาษนั้น หลักการในข้อใดผิด


ก. ค่า R f ของสารที่ทำการแยกควรมีค่าแตกต่างกันมากกว่า 1


ข. ควรเลือกตัวทำละลายที่สามารถละลายสารที่ต้องการแยกสารได้


ค. ถ้าอัตราการเคลื่อนที่ของสารบนตัวดูดซับเร็วเกินไป ควรเพิ่มความยาวของกระดาษ


ง. สารที่ละลายในตัวทำละลายได้ดีดกว่าจะเคลื่อนที่ได้ช้ากว่า


1. ก เท่านั้น            2. ข และ ง            3. ก และ ค                4. ก และ ข.


เฉลย ข้อ 4






3. แก๊ส A ปริมาตร 11.2 dm3 ที่ STP หนัก 14กรัม ทำปฏิกิริยาพอดีดับแก๊สไฮโดรเจน 33.6 dm3 ที่ STPได้


ผลิตภัณฑ์เป็นแก๊ส B 6.02X1023 โมเลกุล มวลโมเลกุลของแก็ส B เป็นเท่าใด


1. 17                  2. 18                   3. 20                     4. 28


เฉลย ข้อ 1






4. เปรียบเทียบสารบริสุทธิ์ต่อไปนี้


ก. น้ำตาลกลูโคส C6 H12 O6 หนัก 18 g


ข. กรดแอซิติก C2H4 O2 หนัก 15 g


ค. กลีเซอรอล C3H8O2 หนัก 23 g


ง. เลด (II) ไนเตรด Pb (NO3)2 หนัก 33.1 g


ข้อใดถูก


1. น้ำตาลกลูโคสมีจำนวนโมเลกุลเท่ากับจำนวนโมเลกุลของกรดแอซิติก


2. กรดแอซิติกมีจำนวนโมเลกุลเท่ากับ 1.50 X 1022


3. กลีเซอรอลมีจำนวนโมเลกุลเป็น 2.5 เท่าของจำนวนโมเลกุลของน้ำตาลกลูโคส


4. เลด (II) ไนเตรดมีจำนวนไอออนเท่ากับ 1.20 X 1023


เฉลย ไม่มีคำตอบ






5. ออกไซด์ชนิดหนึ่งประกอบด้วยโลหะ M 78.8 % สารนี้มีสูตรอย่างง่ายดังข้อใด


(มวลอะตอม M = 119)


1. M2O                2. MO                    3 . MO 2                     4. M2O 3


เฉลย ข้อ 3






6. กรดแอซิติก(CH 3 COOH) มีความหนาแน่น 1.044 g.cm -3 เมื่อทำให้เป็นสารละลายเข้มข้น


0.01mol dm จะมีความเข้มข้นใกล้เคียงกับค่าใดมากที่สุด


      1. 0.01 % CH3 COOH (มวล/ปริมาตร)               2. 0.01 โมเลกุล CH3 COOH


       3. 0.01 % CH3 COOH (มวล/ปริมาตร)              4. 0.01 % CH3 COOH (มวล/มวล)


เฉลย ข้อ 2






7. จะต้องใช้สารละลาย NaCl เข้มข้น 2.00 mol dm-3 กี่ลูกบาศก์เซนติเมตรมาเจือจางให้เป็นสารละลาย


เข้มข้น 0.50 mol / dm3 ปริมาตร 100 cm3


        1. 5                   2. 10                     3. 25                     4. 50


เฉลย ข้อ 3






8. สารประกอบชนิดหนึ่งมี A อยู่ร้อยละ 3.06 B ร้อยละ 31.63 โดยมวลที่เหลือเป็น C กำหนดให้


 แก๊ส A 33.6 dm3 หนัก 3.0 กรัม


 ธาตุ B 2.5 โมล หนัก 77.5 กรัม


 ธาตุ C มีจำนวนโปรตอนเทากับ 8 และจำนวนนิวตรอนเท่ากับ 8


สูตรเอมพิริคัลของสารประกอบนี้เป็นดังข้อใด


           1. A3 BC4             2. A 3BC 8              3. A3 B2C4                4. A3 B2C8


เฉลย ข้อ 1






9. โลหะแทรนซิชั่นในนสารประกอบใดที่เรียงลำดับเลขออกซิเดชั่นจากมากไปน้อย


        1. ZnO Cr2 O3 WO3                       2. MoO3 TiO2 Mn2 O7


        3. MnO2 Fe3O4 Cu2O                    4. K3Fe(CN)6 K2 Cr2O7 Kmno4


เฉลย ข้อ 3






10. ปฏิกิริยาในข้อใดเกิดตะกอนทั้งสองปฏิกิริยา


       1. CuSO4+NaNO3และZn(NO3)2+HCl


       2. NaCl+KNO3และ FeCl3+HNO3


       3. AgNO3+KClและ Cu(NO3)2+NaCl


       4. AgNO3+Kl และ Pb(NO3)2+Na2SO4


เฉลย ข้อ 4






11. จะต้องใช้ออกซิเจนกี่โมเลกุลจึงจะปฏิกิริยาพอดีกับแมกนีเซียม 1.8 g แล้วได้สารประกอบ


แมกนีเซียมออกไซด์ 3.0 g


        1. 2.26 X 1022         2. 4.51X 1022         3. 7.22X 1023           4. 1.08X 1024


เฉลย ข้อ 1






12. ธาตุ A มี 2 ไอโซโทป ไอโซโทป 1 มีมวลอะตอม 23.08 มีปริมาณในธรรมชาติ 90.00% ที่เหลือเป็นปริมาณของไอโซโทปที่ 2 ถ้ามวลของอะตอมของธาตุ A = 23.19 มวลอะตอมของไอโซโทปที่ 2 เป็นเท่าใด


           1. 24.00          2. 24.18          3. 25.00              4. 25.50


เฉลย ข้อ 2






13. การใช้ภาชนะเซรามิกส์ใส่อาหารที่เป็นกรดหรือเบส กรดและเบสจะละลายสารที่เคลือบติดปนมากับอาหารได้ สารดังกล่าวเป็นสารในข้อใด


           1. เซอร์โคเนียมไดออกไซด์             2. สังกะสี


            3. ตะกั่ว                                            4. แคดเมียม


เฉลย ข้อ 1






14. เหตุผลเกี่ยวกับสมบัติของธาตุข้อใดผิด


         1. โลหะมีความมันวาว เพราะดูดกลืนคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าไว้ได้มาก


          2. โลหะดึงให้เป็นเส้นได้เพราะระหว่างอนุภาคของอะตอมโลหะยังมีเวเลนซ์อิเล็กตรอนยึดไว้


          3. แกรไฟต์แผ่ให้เป็นแผ่นบางได้ แต่ยืดให้เป็นเส้นไม่ได้ เพราะเวเลนซ์อิเล็กตรอนร่วมกัน


          4. อะตอมในโลหะสร้างพันธะโดยใช้เวเลนซ์อิเล็กตรอนร่วมกัน


เฉลย ข้อ 1






15. X, Y และ Y เป็นสารโคเวเลนต์ซึ่งมีสถานะแก๊สที่อุณหภูมิห้อง มีมวลโมเลกุลเท่ากับ30 44 และ 71 ตามลำดับ


ถ้ามีแก๊สแต่ละชนิดจำนวน1 mol ที่ STP การเปรียบขนาดของโมเลกุลของสารเหล่านี้จะได้ผลเป็นอย่างไร


        1. X<Y<Z ซึ่งสอดคล้องกับมวลโมเลกุล


        2. X>Y>Z ซึ่งเป็นส่วนกลับกันมวลโมเลกุล


        3. เปรียบเทียบไม่ได้เพราะไม่ทราบปริมาตรและความหนาแน่นของแก๊ส 1 mol


        4. เปรียบไม่ได้เพราะโมเลกุลของแก๊สไม่ได้อยู่ชิดกัน และไม่ทราบชนิดของแก๊สนั้น


เฉลย ข้อ 4


ธาตุและสารประกอบในอุสาหกรรม

 
1. ข้อใดเป็นความจริงของการผลิตโซเดียมไฮดรอกไซด์ในระดับอุตสาหกรรม


        ก. แก๊สไฮโดรเจนที่ผลิตได้จากเซลล์ไดอะแฟรมสามารถนำไปใช้ทำกรดไฮโดรคลอริก ส่วนสารละลายโซเดียมไฮดรอกไซด์สามารถนำไปใช้ในอุสาหกรรมผลิตเรยอง


        ข. แก๊สคลอรีนที่ผลิตได้จากเซลล์ปรอทสามารถนำเอาไปใช้ฆ่าเชื้อในกระบวนการทำน้ำประปา ส่วนสารละลายโซเดียมไฮดรอกไซด์สามารถนำไปใช้ในอุสาหกรรมผลิตโมโนโซเดียมกลูตาเมต และใช้เป็นผงชูรสต่อไป


        ค. เฉพาะเซลล์เยื่อแลกเปลี่ยนไอออนเท่านั้น ที่มีแก๊สคลอรีนและแก๊สไฮโดรเจนเกิดขึ้น


        ง. โซเดียมไฮดรอกไซด์ที่ได้จากเซลล์เยื่อแลกเปลี่ยนไอออนจะมีความเข้มข้นสูงกว่าที่ได้จากเซลล์ไดอะแฟรมแต่จะน้อยกว่าที่ได้จากเซลล์ปรอท


เฉลย ข้อ ง.



2. สาร PSZ ซึ่งใช้ในอุตสาหกรรมเซรามิกส์ มีโลหะชนิดใดผสมอยู่


      ก. ดีบุก


      ข. แทนทาลัม


      ค. ไนโอเบียม


      ง. เซอร์โคเนียม


เฉลย ข้อ ง.

 
3. ในการถลุงดีบุก ปฏิกิริยาใดที่ไม่ได้เกิดขึ้นในเตาถลุง


      ก. CaCO3(S) —> CaO(S)+CO2(g)


      ข. C(S)+CO2(g) —> 2CO(g)


      ค. 2CO(g)+O2(g) —> 2CO2(g)


      ง. CaO(s)+SiO2(l) —> CaSiO3(l)


เฉลย ข้อ ค.



4. ข้อใดกล่าวได้ถูกต้อง


      ก. ในการถลุงดีบุกจาก SnO2 ใช้ CO2 เป็นตัวรีดิวซ์


      ข. ในการถลุงดีบุกใช้พลังงานไฟฟ้าในการแยก SnO2 เป็น Sn


      ค. ในการถลุงดีบุก SnO2 เกิดรีดักชันกลายเป็น Sn


      ง. ในการถลุงดีบุก Sb2O3 เปลี่ยนเป็น Sb แสดงว่าเกิดปฏิกิริยาออกซิเดชัน


เฉลย ข้อ ค.


5. โรงงานถลุงโลหะพลวง ลดปริมาณแก๊สซัลเฟอร์ไดออกไซด์ก่อนปล่อยสู่บรรยากาศ ดังนี้


     1). ผ่านแก๊สซัลเฟอร์ไดออกไซด์ไปยังผงแคลเซียมออกไซด์ที่เปียก


     2). ผ่านแก๊สซัลเฟอร์ไดออกไซด์ไปยังผงแคลเซียมคาร์บอเนตที่เปียก


     3). ผ่านแก๊สซัลเฟอร์ไดออกไซด์ไปยังแคลเซียมคาร์บอเนตที่เผาร้อน


     4). ผ่านแก๊สซัลเฟอร์ไดออกไซด์ลงในน้ำ


วิธีการใดที่เป็นการลดมลพิษ


      ก. 3 เท่านั้น


      ข. 1 และ 2 เท่านั้น


      ค. 1,2 และ 3


      ง. ถูกทุกข้อ


เฉลย ข้อ ค.


6. ผลพลอยได้จากการผลิตสารในข้อ ก และ ข ต่อไปนี้ สามารถทำให้เกิดอุตสาหกรรมการผลิตอะไรได้บ้าง


    1). ผงชูรสจากแป้งมันสำปะหลัง


    2). ก๊าซคลอรีนจากเกลือสมุทร


      ก. ปุ๋ยและผงซักฟอก


      ข. กรดอะมิโนและก๊าซไฮโดรเจน


      ค. น้ำตาลกลุโคสและกรดไฮโดรคลอริก


      ง. แอโมเนียมกลูตาเมตและโซเดียมไฮดรอกไซด์


เฉลย ข้อ ก.


7. แร่รัตนชาติใดมีความแข็งมากที่สุด


      ก. มรกต


      ข. โกเมน


      ค. ไพลิน


      ง. เพทาย


เฉลย ข้อ ค.


8. เกลือแกงเป็นวัตถุดิบที่สำคัญชนิดหนึ่ง ซึ่งใช้ในโรงงานอุตสาหกรรมประเภทใดมากที่สุด


      ก. โรงงานผงชูรส


      ข. โรงงานโซดาไฟ


      ค. โรงงานน้ำตาล


      ง. โรงงานผงซักฟอก


เฉลย ข้อ ข.


9. โรงงานอุตสาหกรรมใดข้างล่างนี้ที่ไม่ได้ใช้คลอรีนในกระบวนการผลิต


      ก. อุสาหกรรมพลาสติก


      ข. อุสาหกรรมทำกระดาษ


      ค. อุสาหกรรมทำสบู่


      ง. อุสาหกรรมทำผงชูรส


เฉลย ข้อ ค.


10. เกลือ NaCl ที่มีเกลือแมกนีเซียปนอยู่มากเป็นมลพิษ จะมีคุณภาพต่ำและราคาตกเพราะเหตุใด


       ก. แมกนีเซียมไอออนดูดน้ำได้ง่ายเกิดเป็น Mg(OH)2 ทำให้เกลือชื้น


       ข. ทำให้เกลือมีสีคล้ำและมีผลึกขนาดใหญ่


       ค. แมกนีเซียมซัลเฟตดูดน้ำได้ง่ายเกิดเป็น MgSO47H – 2O ทำให้เกลือชื้น


       ง. แมกนีเซียมไอออนเป็นคะตะไลต์ให้ NaCl ดูดน้ำเกิดเป็น NaOH ได้ง่ายขึ้น


เฉลย ข้อ ค.


11. การปรับปรุงคุณภาพเกลือสมุทรโดยการเติมปูนขาวปริมาณที่เหมาะสมลงในนาเชื้อ แล้วจึงปล่อยน้ำเกลือเข้าไปตกผลึกในนาปลง จะได้เกลือที่มีคุณภาพดีขึ้น มีผลึกใส ไม่ชื้นง่าย และมีปริมาณร้อยละของเกลือสูง ปูนขาวที่เติมมีบทบาทอย่างไร


      ก. ช่วยดูดความชื้นจากเกลือ


      ข. ช่วยลดปริมาณแมกนีเซียมไอออน


      ค. ช่วยเพิ่มปริมาณแคลเซียมไอออน


      ง. ช่วยฟอกสีเกลือ


เฉลย ข้อ ข.


12. ข้อใดผิด


      ก. การถลุงแร่เป็นกระบวนการรีดักชัย


      ข. การถลุงแร่ทำโดยใช้สารเคมีหรือไฟฟ้า


      ค. การถลุงแร่มีส่วนทำให้เกิดปรากฏการณ์เรือนกระจก


      ง. การถลุงแร่เป็นกระบวนการที่เปลี่ยนสารประกอบอื่นให้อยู่ในรูปออกไซด์


เฉลย ข้อ ง.


13. ตัวรีดิวซ์ที่ใช้ในการถลุงดีบุกคือข้อใด


      ก. C


      ข. Mg


      ค. Zn


      ง. Zr


เฉลย ข้อ ก.


14. การถลุงแร่ชนิดใดที่เกิดแก๊สซัลเฟอร์ไดออกไซด์ ซึ่งเป็นแก๊สพิษ


       ก. แร่แคสซิเทอไรต์


       ข. แร่ซิงค์ไคต์


       ค. แร่สติบไนต์


       ง. แร่สมิทไนต์


เฉลย ข้อ ค.


15. ข้อใดไม่ใช่อุตสาหกรรมเซรามิกส์


       ก. อุตสาหกรรมเครื่องสุขภัณฑ์


       ข. อุตสาหกรรมซีเมนต์


       ค. อุตสาหกรรมแก้ว


       ง. ไม่มีข้อถูก


เฉลย ข้อ ง.



วันศุกร์ที่ 10 กันยายน พ.ศ. 2553

ตอบคำถามพฟิสิกส์ ม.6

คำถาม


เมื่อนักเรียนได้สืบค้นข้อมูลจาก website แล้ว ให้ตอบคำถามต่อไปนี้

1. อธิบายว่าอะไรเป็นสาเหตุให้เกิดฟ้าผ่า หลักการของประจุชนิดต่างกันทำให้เกิดฟ้าผ่าได้หรือไม่ อย่างไร
2. อธิบายว่าแสงที่เกิดขึ้นขณะฟ้าผ่า ว่าเดินทางจากเมฆลงมายังพื้นดิน หรือจากพื้นดินขึ้นไปบนท้องฟ้า

3. วาด diagram แสดงอิเล็กตรอนบนก้อนเมฆ และที่พื้นดิน

4. ในระหว่างที่เกิดฟ้าผ่า นักเรียนควรปฏิบัติอย่างไรเพื่อหลีกเลี่ยงการเกิดอุบัติเหตุ บอกมา 3 ประการ

5. เพราะเหตุใดนักเรียนจึงไม่ควรอยู่ในน้ำในขณะที่เกิดฟ้าผ่า

6. ให้นักเรียนยกตัวอย่างผลของไฟฟ้าสถิตที่มีในชีวิตประจำวันมาสัก 5 ตัวอย่าง

7. อธิบายว่าอิเล็กโทรสโคปสามารถใช้ตรวจสอบไฟฟ้าสถิตได้อย่างไร

8. เพราะเหตุใดจึงไม่ใช้โลหะเป็นตัวทำให้เกิดไฟฟ้าสถิต

9. ยกตัวอย่างประโยชน์ของไฟฟ้าสถิตมาสัก 5 ตัวอย่าง

10.อธิบายว่าสามารถใช้หลักการเกี่ยวกับเรื่องไฟฟ้าสถิตในการควบคุมมลพิษทางอากาศได้อย่างไร

คำตอบ

1.ฟ้าผ่าเกิดจากความไม่สมดุลของอุณหภูมิในชั้นบรรยากาศโลก เป็นปรากฏการณ์หนึ่งของการ convection หรือการที่อากาศใกล้พื้นผิวโลกร้อนขึ้น หรืออากาศเย็นที่อยู่เหนือขึ้นไปเริ่มร้อนขึ้น ดังนั้นอากาศที่เบาบางกว่าที่อยู่ใต้อากาศที่เย็นกว่าก็จะเริ่มหนาแน่นขึ้น

2. เดินทางจากเมฆลงมายังพื้นดิน โดยเทประจุลงมา

3.

4. ปิดโทรทัศน์ >> ถ้าฟ้าผ่าเปรี้ยงๆ ควรที่จะรีบปิดโทรทัศน์ทันที เพราะเสาอากาศเป็นตัวนำไฟฟ้าอย่างหนึ่ง ถ้าเสาอากาศถูกฟ้าผ่า กระแสไฟฟ้าจะไหลเข้ามาในโทรทัศน์ทำให้ระเบิดได้ 2. ไม่เดินอยู่บนทางโล่งแจ้ง หรือใต้ต้นไม้ใหญ่ 3. ไม่นำทองแดงมาเล่น หรือสวมคอ.

5.เนื่องจากน้ำอมความร้อนได้ดีมากจนคายออกมาน้อยมาก อากาศเหนือพื้นจึงไม่ได้ร้อนมาก เมื่อไม่มีกระแสอากาศร้อนติดพื้น ก็ไม่ค่อยมีการก่อเมฆฝน ซึ่งเป็นปัจจัยสำคัญในการทำให้เกิดฟ้าผ่า ประชากรในประเทศเกาะในมหาสมุทร มักจะไม่เจอปรากฏการณ์ฟ้าผ่ามากเท่าใด


6. ใช้ในเป็นเครื่องมือต่างๆ เช่น เครื่องถ่ายเอกสาร Printer plotter เครื่องตัดผ้าในโรงงานอุตสาหกรรม และ เครื่องพ่นสี


8. ไฟฟ้าสถิตมันเกิดกับวัตถุที่เป็นฉนวนเท่านั้น โลหะมิได้เป็นตัวนำแต่ประการใด
7.เป็นเครื่องมือที่ใช้ตรวจสอบประจุไฟฟ้าสถิตที่มีจำนวนปริมาณน้อยๆ
9.---1.การดูดน้ำใต้ดิน


2. เครื่องพิมพ์เลเซอร์

3. ทางด้านการแพทย์เพื่อประดิษฐ์เส้นใยนาโน
4. การทำกระดาษทราย


5. การกรองฝุ่นและเขม่าออกจากควันไฟ

10. การควบคุมมลพิษทางอากาศ(Air Pollution Control) การเก็บฝุ่นโดยอาศัยหลักการกรอง
(Filter) ด้วยเครื่องจับอนุภาคด้วยไฟฟ้าสถิต ซึ่งปัจจุบัน ใช้อย่างแพร่หลาย
 
ขอขอบคุณข้อมูลจาก www.google.com